เกี่ยวกับ วารสารอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและโรงแรมร่วมสมัย
About the Journal of Contemporary issues in Tourism and Hotel Industry

ชื่อภาษาไทย : วารสารอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและโรงแรมร่วมสมัย

English :Journal of Contemporary issues in Tourism and Hotel Industry

ตัวย่อ (Abbreviation): CITH

ISSN :วารสารอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและโรงแรมร่วมสมัย / ISSN(Print): 2773-9597  / ISSN(Online)

เจ้าของ(Owner) : คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

                               Faculty of Tourism and Hotel Management, Mahasarakham University

จุดมุ่งหมายและขอบเขต (Aims and scope):วารสารอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและโรงแรมร่วมสมัย มีจุดมุ่งหมายเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้                                                                       ด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม และส่งเสริมให้นักวิชาการ นักวิจัย นิสิต/นักศึกษา รวมทั้งผู้ที่สนใจเผยแพร่ผลงานวิชาการทางด้าน                                             การท่องเที่ยวและการโรงแรม

กำหนดการออกเผยแพร่ 

วารสารอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและโรงแรมร่วมสมัย ตีพิมพ์เผยแพร่ (ปีละ 2 ฉบับ)

  • ฉบับที่ 1 ช่วงเดือนมกราคม – มิถุนายน
  • ฉบับที่ 2 ช่วงเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม

ที่ปรึกษา:

อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คณบดี คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิรัชกิจ

บรรณาธิการ : อาจารย์ ดร.มยุรี นาสา คาร์น  

ผู้ช่วยบรรณาธิการ:

อาจารย์ ดร.ศิริวรรณ กวงเพ้ง

อาจารย์ ดร.ปารณีย์ บุญไชย

กองบรรณาธิการ:

ศาสตราจารย์ ดร.ปฐม หงษ์สุวรรณ                      มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

รองศาสตราจารย์ ดร.โยธิน แสวงดี                       มหาวิทยาลัยมหิดล

รองศาสตราจารย์ ดร.ศักรินทร์ นนทพจน์             มหาวิทยาลัยขอนแก่น

รองศาสตราจารย์ ดร.นภวรรณ ฐานะกาญจน์        มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรถพล ศิริเวชพันธุ์         มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

อาจารย์ ดร.สิริรัตน์ ชอบขาย                                  มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

Dr.Phitsapong Vongphachane                             National University of Laos

Associate Professor Dr. Fatimah Hassan            Universiti Sains Malaysia

Dr.Umut Kadir Oguz                                                Karabuk University, Turkey

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธนา บุญเหลือ                    มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรา เอราวัณ                         มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

อาจารย์ ดร.อรรถพล หมู่มี                                          มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

อาจารย์ กมลทิพย์ เหล่าอรรคะ                                   มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

อาจารย์ ดร.พิไลวรรณ ชมภูป้อ                                   มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

อาจารย์ ดร.เยาวภา นียากร                                          มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลินจง โพชารี                          มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

อาจารย์ ดร.พรพิมล ศรีธเรศ                                        มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ขอบเขตเนื้อหาการตีพิมพ์ วารสารอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและโรงแรมร่วมสมัย

บทความวิจัยและบทความวิชาการ ด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม ได้แก่
  • การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน (Sustainable Tourism Development)
  • การวางแผนและพัฒนาการท่องเที่ยว (Tourism planning and development)
  • การท่องเที่ยวและการบริการ (Tourism and Hospitality)
  • กลยุทธ์ธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการ (Business strategy for Tourism and hospitality)
  • กลยุทธ์การตลาดสำหรับธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ (Marketing strategy for business in tourism industry and hospitality)
  • นวัตกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการการท่องเที่ยว (Innovation of tourism products and services development)
  • ขีดความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ (Capacity in tourism industry and hospitality competitiveness)
  • โลจิสติกส์และการท่องเที่ยว (Logistics and tourism)
  • ธุรกิจการบิน (Airline business)
  • ธุรกิจและการบริการเรือสำราญ (Cruise line service and business)
  • ธุรกิจและการบริการธุรกิจอาหารและภัตตาคาร (Restaurant service and business)
  • อุปสงค์การท่องเที่ยว (Demand)
  • อุปทานการท่องเที่ยว (Supply)
  • การตลาดการท่องเที่ยว (Tourism marketing)
  • การจัดการห่วงโซ่อุปทานด้านการท่องเที่ยว (Tourism supply chain management)
  • การจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวทางธรรมชาติ (Natural resources management for tourism)
  • การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community-based tourism management)
  • การจัดการมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว (Cultural heritage management for tourism)
  • การจัดการวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยว (Cultural management for tourism)
  • การจัดการเมืองท่องเที่ยว (Urban tourism management)
  • ผลกระทบการท่องเที่ยว (Tourism impacts)
  • การจัดการภัยพิบัติในแหล่งท่องเที่ยว (Disaster management in tourism destination)
  • การสื่อความหมายเพื่อการท่องเที่ยว (Tourism interpretation)
  • การจัดการการท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport tourism management)
  • การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม (Cultural tourism)
  • การท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ (Historical tourism)
  • สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม (Related field)

นโยบายและกระบวนการ วารสารอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและโรงแรมร่วมสมัย

นโยบายและกระบวนการ วารสารอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและโรงแรมร่วมสมัย:
  1. บทความวิจัยจะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ว่า ไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร เอกสารการประชุมวิชาการ หรือสิ่งตีพิมพ์ใดมาก่อน (ยกเว้นรายงานการวิจัยและวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์) และไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณารอตีพิมพ์ในวารสารอื่น
  2. บทความที่ได้รับพิจารณาตีพิมพ์ ต้องผ่านการกลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง (Peer Review) อย่างน้อย 3 คน และได้รับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ
  3. ผู้เขียนต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กองบรรณาธิการวารสารกำหนด และยินยอมให้บรรณาธิการแก้ไขบทความเพื่อความสมบูรณ์ได้ในขั้นตอนสุดท้ายก่อนเผยแพร่
กระบวนการพิจารณากลั่นกรองบทความ

บทความที่ได้รับการพิจารณาตีพิมพ์ จะต้องผ่านกระบวนการพิจารณาจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง (Peer Review) ดังนี้

  1. กองบรรรณาธิการจะแจ้งให้ผู้เขียนทราบ เมื่อกองบรรณาธิการได้รับบทความเรียบร้อยแล้ว
  2. กองบรรณาธิการจะตรวจสอบบทความว่าอยู่ในขอบเขตเนื้อหาวารสารหรือไม่ รวมถึงคุณภาพทางวิชาการและประโยชน์ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ โดยใช้เวลาพิจารณาประมาณ 5 วัน
  3. ในกรณีที่กองบรรณาธิการ พิจารณาเห็นควรรับทราบไว้พิจารณาตีพิมพ์ กองบรรณาธิการจะดำเนินการส่งบทความเพื่อกลั่นกรองต่อไป โดยจะส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 คน ประเมินคุณภาพของบทความว่าอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมจะลงตีพิมพ์หรือไม่ ซึ่งกระบวนการกลั่นกรองนี้ ทั้งผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เขียนจะไม่ทราบข้อมูลซึ่งกันและกัน (Double-blind review) โดยใช้เวลาพิจารณาประมาณ 30 วัน
  4. เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความแล้ว กองบรรณาธิการจะตัดสินใจโดยอิงตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ
  5. ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เขียนต้องปรับแก้ตามคำแนะนำ หากไม่ปรับแก้จะไม่ได้รับการตีพิมพ์ และระยะการแก้ไขไม่ควรเกิน 10 วัน
ข้อมูลติดต่อบรรณาธิการ
  • งานวารสารวิชาการ คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000
  • โทรศัพท์ 043-970-763 (จันทร์-ศุกร์ เวลา 9.00 – 16:00 น.)
  • Email: [email protected]

download JCITH Template

Scroll to Top